ถังเคมีดับเพลิง ( Fire Extinguishers )
ถังเคมีดับเพลิง แยกออกได้ 6 ประเภทใหญ่ ตามสารเคมีดับเพลิงที่บรรจุในถังเคมีดับเพลิง
วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2552
ตรวจสอบถังดับเพลิง ( Checks Fire Extinguishers )
ตรวจสอบถังดับเพลิง
1.ตรวจสอบ แรงดันภายในถัง
2.ตรวจสอบ สภาพทางกายภาพ ถังดับเพลิง
5.ตรวจสอบ อายุของผงเคมีแห้งภายในถังดับเพลิง ไม่ควรเกิน 3 ปี
6. ตรวจสอบ ปริมาณถังดับเพลิง ต่อพื้นที่อาคาร โดยจะต้องมีถังดับเพลิงอย่างน้อย 1 ถังต่อหนึ่งชั้น และหรือมีถังดัลเพลิง 1 ถังต่อพื้นที่ไม่เกิน 1000 ตารางเมตร
1.ตรวจสอบ แรงดันภายในถัง
- ใน กรณีมีมาตรวัด ให้ดูเข็มให้ชี้อยู่ในแถบสีเขียว ถ้าเข็มเอียงไปในด้านซ้ายมือ แสดงว่าแรงดันในถังไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้สมบูรณ์ ให้รีบดำเนินการนำไปอัดแรงดันเพิ่มเติม
- ในกรณีไม่มีมาตรวัด จะเป็นถังดับเพลิงประเภมซีโอทู ให้ใช้การตรวจสอบจากการชั่งน้ำหนักถ้าน้ำหนักลดลงเกิน 20 % ให้นำไปอัดซีโอทูเพิ่ม
รูป มาตรวัดความดับถังดับเพลิง หากเข็มสีเหลืองตกลงไปที่เขียนว่า RECHARGE หมายความว่าความดันต่ำควรนำไปอัดความดันเพิ่มเติม
2.ตรวจสอบ สภาพทางกายภาพ ถังดับเพลิง
- สภาพสายดับเพลิง จะต้องไม่มีรอยแตกร้าว ขาด ชำรุด
- สภาพถังต้องไม่เกิดสนิม
- ถังดับเพลิงจะต้องไม่ติดตั้งสูงกว่า 0.9 เมตร (สำหรับถังที่มีน้ำหนักมากกว่า 10 กิโลกรัม)
- ถังดับเพลิงจะต้องไม่ติดตั้งสูงกว่า 1.5 เมตร (สำหรับถังที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 10 กิโลกรัม)
5.ตรวจสอบ อายุของผงเคมีแห้งภายในถังดับเพลิง ไม่ควรเกิน 3 ปี
6. ตรวจสอบ ปริมาณถังดับเพลิง ต่อพื้นที่อาคาร โดยจะต้องมีถังดับเพลิงอย่างน้อย 1 ถังต่อหนึ่งชั้น และหรือมีถังดัลเพลิง 1 ถังต่อพื้นที่ไม่เกิน 1000 ตารางเมตร
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)